ไลฟ์แฮ็ก

มารู้จักประวัติของ "ภาษาไพธอน" กันเถอะ!

9.9k
คัดลอกลิงค์
คัดลอกลิงค์
แจ้งตรวจสอบ
มารู้จักประวัติของ "ภาษาไพธอน" กันเถอะ!

ภาษาไพธอนเป็นการเขียนโปรแกรมที่พัฒนามาจากภาษาC+++ ซึ่งภาษาไพธอนจะเป็นการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเขียนทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถสร้างงานได้ง่ายยิ่งขึ้น แล้วภาษาไพธอนเกิดขึ้นได้อย่างไรเรามารู้จักภาษาไพธอนกันเถอะคะเขียนโปรแกรม

ขอบคุณรูปภาพจากhttps://pixabay.com/th/


ภาษาไพธอนถูกออกแบบและพัฒนาโดย กีโด ฟาน รอสซัม ชาวเนเธอร์แลนด์ เริ่มคิดค้นออกแบบมาตั้งแต่ช่วงปลายปี ค.ศ. 1989 แล้วจึงปล่อยเวอร์ชั่นทดลองมาให้ผู้ใช้งานได้มาทดลองใช้ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1991 จนถึงเดือนมกราคมในปี ค.ศ. 1994 จนกระทั่งได้ปล่อยเวอร์ชั่นไพธอน(Python)ออกมาเป็นเวอร์ชั่นแรก หลังจากนั้นได้ทำการปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรมมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงเสอร์ชั่นล่าสุดคือ เวอร์ชั่น 3.7.4 ซึ่งปล่อยเมื่อเดือนมกราคมของปีที่แล้วนี่เอง โปรแกรมไพธอนมาสารถใช้งานได้กับทุก ๆ ระบบปฏิบัติการไม่ว่าจะเป็นปฏิบัติการลินุกซ์(Linux) ปฏิบัติการแม็ค โอ เอส เอ็กซ์(Max OS X) และระบบปฏิบัติการวินโดวส์(Windows) ซึ่งมีไลบารีที่ประกอบไปด้วยฟังก์ชั่นสำเร็จรูปต่างๆที่จำเป็นต่อการเขียนโปรแกรมเป็นอย่างมาก

Advertisement

Advertisement

ภาษาไพธอนขอบคุณรูปภาพจากhttps://pixabay.com/th/

โดยโปรแกรมไพธอนเป็นโปรแกรมที่ต้องแปล (Interpreted language) ซึ่งจะใช้ตัวแปลภาษา (Interpreter) โดยจะทำการประมวลคำสั่งที่ละหนึ่งบรรทัด และถ้าหากเกิดข้อผิดพลาดระบบจะทำการแจ้งเตือนทันที โดยตังแปลภาษาจะมีด้วยกันหลายตัวคือ IDLE, THONNY ,SPYDER ,PYCHARM, RODEO, ATOM ,VISUAL STUDIO CODE และ ERIC เป็นต้น  ซึ่งจะยกตัวอย่างให้ดูก็คือ IDLE และ THONNYเขียนโปรแกรม

ขอบคุณรูปภาพจากhttps://pixabay.com/th/

1. โปรแกรม IDLE โดยจะทำการติดตั้งอัตโนมัติเมื่อลงโปรแกรม Python 3.7.4 โดยโปรแกรม  IDLE จะมีอยู่ 2 หน้าต่างหลัก ๆ อยู่ 2 หน้าต่างคือหน้าต่างเซลล์ จะทำหน้าที่แปลภาษาและแสดงผลการรันของโปรแกรมและหน้าต่างอิดิเตอร์ ใช้ในการเขียนโปรแกรมและบันทึกหลายหน้าต่างได้ในขณะเดียวกัน

2.Thonny มาพร้อมกับไลบารีชองไพธอน 3.7.4 ซึ่งโปรแกรมไพธอนจะมีหน้าต่างเดียว และประกอบไปด้วย 3 หน้าต่างย่อยคือ หน้าต่างอิดิเตอร์ หน้าต่างเซลล์และหน้าต่างช่วยเหลือ

Advertisement

Advertisement


การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นับว่าเป็นความรู้และความสามารถที่ต่อยอดได้เรื่อย ๆ เพราะเทคโนโลยีของปัจจุบันนี้ถือว่าพัฒนาขึ้นต่างจากเมื่อก่อนมาก จึงทำให้เจ้าของโปรแกรมหรือเจ้าของแอพพลิเคชั่นต้องอัพเดตปรับปรุงอยู่เรื่อย ๆ เพื่อนให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม ซึ่งการพัฒนาโปรแกรมนั่นก็คือการเขียนโปรแกรมขึ้นมาใหม่หัวข้อและรูปแบบการใช้งานยังเหมือนเดิม แต่ที่เปลี่ยนแปลงไปก็คือความทันสมัย ความสเถียรของโปรแกรมนั่นเอง

คัดลอกลิงค์
คัดลอกลิงค์
แจ้งตรวจสอบ

ความคิดเห็น

กรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อทำการคอมเม้นต์